ผู้เขียน หัวข้อ: อาหารปั่นผสม อาหารสายยาง ทำเองได้ง่ายๆ แต่ต้องมีแพทย์แนะนำ  (อ่าน 22 ครั้ง)

siritidaphon

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 504
  • โฆษณาโปรโมชั่นของท่าน*ได้กระจายสู่การรับรู้สู่ลูกค้าได้ทั่วถึงยิ่งขึ้น สอบถาม รับจ้างโพสเว็บ
    • ดูรายละเอียด
อาหารปั่นผสม อาหารสายยาง ทำเองได้ง่ายๆ แต่ต้องมีแพทย์แนะนำ

อาหารปั่นผสมนั้น ถือเป็นการรักษาอย่างหนึ่ง ที่ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ต้องคอยใช้ตลอด เหมือนกับการรับประทานอาหารทั่วไป อาหารปั่นผสมสามารถปรับเปลี่ยนได้ ตามความชอบและความสะดวกในการจัดหาวัตถุดิบ

แต่การเตรียมวัตถุดิบควรให้นักโภชนาการหรือผู้เชี่ยวชาญเป็นแนะนำส่วนผสมต่างๆ และวิธีการทำอาหารปั่นผสมเพื่อความปลอดภัยและครบถ้วนของสารอาหารที่จำเป็นต่อผู้ป่วยและต้องมีแพทย์เป็นผู้แนะนำ

แต่หากไม่สามารถผลิตเองได้ หรือไม่สะดวกในการจัดหาวัตถุดิบ สามารถซื้ออาหารปั่นผสม ได้ที่โรงพยาบาลธนบุรี 2 และโรงพยาบาลกรุงเทพ-พัทยา โดย 1 ถุงจะมีครบ 3 มื้อ เช้า กลางวัน เย็น และมีราคาที่ไม่แพงอีกด้วย


รสชาติ สี และกลิ่น ของ อาหารเหลว อาหารปั่นผสม !

เป็นที่ทราบกันดีอยู่ในกลุ่มของผู้ที่ต้องใช้ อาหารเหลว อาหารปั่นผสมในการดูแลรักษาผู้ป่วยว่า อาหารปั่นผสมนั้นมีสีและหน้าตาที่ไม่ค่อยน่ารับประทาน และกลิ่นที่ไม่ค่อยจะหอมนัก เนื่องจากเป้นนำวัตถุดิบหลายๆชนิดมาปั่นรวมกัน จึงทำให้มีหน้าตาที่ไม่ค่อยน่ารับประทาน

จึงออกแบบและคิดสูตรที่จะทำให้การรับประทานอาหารปั่นผสมนั้น ง่ายยิ่งขึ้น ด้วยสีที่น่ารับประทาน และกลิ่นที่หอม ทำให้ผู้ป่วยรับประทานได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้เราจะใช้วัตถุดิบที่สดใหม่ในการปรุงอาหารเพื่อให้ได้ประโยชน์มากที่สุด

ทั้งนี้ยังคำนึงถึงเรื่องของการให้พลังงาน และความเหมาะสมของอาหารที่ผู้ป่วยจะได้รับ ถือเป็นเรื่องสำคัญและเป็นปัจจัยหลักของการผลิตอาหารปั่นผสม ที่ต้องคำนึงถึงผู้ป่วยเป็นอันดับแรก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของความสะอาด หรือประโยชน์ที่ผู้ป่วยจะได้รับ รับรองได้ว่าจะดูแลในเรื่องของอาหารปั่นผสมของผู้ป่วยได้ดีเลยทีเดียว


ห่วงใยในตัวผู้ป่วย ! อาหารปั่น​ผสม

ถ้าคุณห่วงใยผู้ป่วย​กลับรับสารอาหาร​ไม่ครบถ้วนต้องปรึกษาโดยเฉพาะผัูป่วย​ที่​มี​ปัญหา​ใน​การ​ทำ​งาน​ของ​กระเพาะอาหาร​และลำใส้หรือมีการตัดกระเพาะ​อาหาร​แลลำใส้

เรามีด้านโภชนาการเพื่อบรรเทา​อาการ​ของ​ผู้ป่วย​ ซึ่งเน้นอาหาร​ที่ใหพลังงาน โปร​ตีน​ วิตามิน และเกลือแร่ควบคู่​ไปกับการวางแผน​ทางโภชนาการ​ที่เหมาะสม​กับความต้องการสารอาหารและชนิดอาหาร​ที่ผู้ป่วย​พึงพอใจ​ใน​รสชาติ